Recent Posts

Pages: 1 ... 7 8 [9] 10
81
15th IMSPQ 2017/2560 UM Malaysia Aug 16-17, 17 ข้อมูลจากภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

417 participants จาก 103 ทีม 22 ประเทศ ในจำนวนนี้มีทีมจากประเทศไทยทั้งหมด 15 ทีม ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้าฯ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวีณ ลีลาเกรียงศักดิ์ จากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้คะแนนข้อเขียนเป็นลำดับที่ 7 ซึ่งเป็นคนเดียวใน Southeast Asian countries ที่ได้คะแนนข้อเขียนติดใน 10 ลำดับแรก (ได้ข่าวว่า ปีนี้สไตล์ข้อสอบแตกต่างจากเดิมๆ มาก ประเทศแถบนี้ ตั้งหลักปรับตัวไม่ทัน)

เป็นที่น่าสนใจว่าคะแนนสูงสุดในปีนี้อยู่ที่ 89 คะแนน ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่สูงกว่าปีผ่านๆ มา และอันดับที่ 1-3 เป็นนักศึกษาแพทย์จาก Xuzhou Medical University (XZMU) จากประเทศจีน อันดับที่ 4-5 เป็นนักศึกษาแพทย์จาก Second Military Medical University (SMMU) จากประเทศจีนเช่นเดียวกัน อันดับที่ 6 เป็นนักศึกษาแพทย์จาก University of Sri Jayewardenepura (USJP) จากประเทศศรีลังกา

รอบ final บนเวที University of Colombo ประเทศศรีลังกา ได้รับรางวัลชนะเลิศ ทีมจาก University of Sri Jayewardenepura ประเทศศรีลังกา และทีมจาก Xuzhou Medical University ประเทศจีน ได้ 1st & 2nd runners-up ตามลำดับ
82
14th IMSPQ 2016/2559 July 29-30, 2016 UGM อินโดนีเซีย แชมป์ปีที่แล้ว เป็นเจ้าภาพการแข่งขัน ข้อมูลด้านล่างจากจดหมายข่าวของสรีรวิทยาสมาคม

ปีนี้ไม่มีทีมจากจุฬาฯ อีกแล้ว ทีมเข้าแข่งขันทั้งสิ้น 81 ทีม จากประเทศต่าง ๆ 23 ประเทศ คือ Australia (1 ทีม), Bangladesh (1 ทีม), Bosnia-Herzegovina (1 ทีม), Cambodia (1 ทีม), China (10 ทีม), Egypt (1 ทีม), HongKong (1 ทีม), India (7 ทีม), Indonesia (18 ทีม), Iran (1 ทีม), Japan (5 ทีม), Laos (1 ทีม), Malaysia (9 ทีม), Mongolia (1 ทีม), Myanmar (2 ทีม), Nepal (1 ทีม), Singapore (2 ทีม), Srilanka (4 ทีม), Sudan (1 ทีม), Taiwan (2 ทีม), The Philippines (2 ทีม), Vietnam (1 ทีม) และทีมจากประเทศไทยมีทั้งหมด 8 ทีม ได้แก่ วิทยาลัย นานาชาติจุฬาภรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยสุรนารี และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ทีมจากประเทศไทยที่ผ่านข้อเขียนเข้าแข่งรอบบนเวที 4 ทีม คือ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลการแข่งขันในรอบ final ทีมชนะเลิศ คือ Universitos Gadjah Mada (UGM), Indonesia (ได้แชมป์เป็นปีที่สองติดต่อกัน คล้ายกับที่จุฬาฯ เคยได้มาก่อน) ทีมรองชนะเลิศ อันดับ 1 คือ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (SIMU), Thailand ทีมรองชนะเลิศ อันดับ 2 คือ De La Salle University Health Sciences Institute (DLSU), The Philippines

ข่าวประกอบจากเว็บของ UGM https://ugm.ac.id/en/news/12180-ugm-students-win-physiology-competition/

83
หลังจากไม่ได้ update ข่าวการแข่งขันตอบปัญหาสรีรวิทยานานาชาติ (InterMedical School Physiology Quiz — IMSPQ) มานาน ขณะนี้ได้เวลาเพิ่มข้อมูลให้เป็นปัจจุบันแล้วนะครับ ท้าวความจากกระทู้เดิมที่นี่ http://forum.cumedicine.org/index.php?topic=544.0 ที่เคยเล่าเหตุการณ์ตั้งแต่การแข่งขันครั้งที่ 6 ปี 2008/2551 ซึ่งเปิดให้ผู้เข้าแข่งขันจากนานาชาติเข้าร่วมแข่งขันอย่างเป็นจริงเป็นจัง และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเข้าร่วมเป็นครั้งแรก เรื่อยมาจนถึงครั้งที่ 12 ปี 2014/2557

ผมจะทยอยเล่าทีละปีเหมือนเดิม ขอบคุณข้อมูลจากภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ จากจดหมายข่าวของสรีรวิทยาสมาคม และจากเว็บและเฟสบุ๊คของผู้จัดการประชุมครับ


ครั้งที่ 13th IMSPQ 2015/2558
Aug 12-13, 15 Malaysia ข้อมูลด้านล่างจากจดหมายข่าวของสรีรวิทยาสมาคม
93 ทีม 22 ประเทศ (บังคลาเทศ จีน โครเอเชีย อินเดีย อินโดนีเซีย ลาว เวียดนาม มาเลเซีย ไต้หวัน มองโกเลีย พม่า เนปาล ฟิลิปปินส์ โปแลนด์ รัสเซีย สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ศรีลังกา ซูดาน โอมาน ตุรกี สหรัฐอาหรับเอมิเรส และ ไทย) นักศึกษา 391 คน ปีนี้และปีถัดจากนี้ รวม 2 ปี
ไม่มีทีมจุฬาฯ เข้าร่วมด้วย เนื่องจากช่วงเวลาแข่งตรงกับการสอบสำคัญในคณะ สำหรับปีนี้ คณะที่เข้าร่วมแข่งคือ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยสุรนารี มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

เป็นที่น่ายินดีที่
ผู้ได้คะแนนข้อเขียนสูงสุด 10 ลำดับแรก เป็นของไทย 3 ลำดับ คือ ศิริราช (ที่ 1 และที่ 4) และเชียงใหม่ (ที่ 3)

สำหรับรอบ final ตอบคำถามบนเวที รางวัลชนะเลิศ คือ Universitas Gadjah Mada (UGM) ประเทศอินโดนิเซีย อันดับ 2 คือ University of Peradeniya ประเทศศรีลังกา และอันดับ 3 คือ University of Colombo ประเทศศรีลังกา
84
กราบเรียนอาจารย์ที่เคารพและสวัสดีแพทย์ประจำบ้านทุกท่านค่ะ

ขออนุญาตแจ้งตารางกิจกรรมประจำสัปดาห์หน้า ตั้งแต่วันที่ 14 สิงหาคม 2566 – 18 สิงหาคม2566 ค่ะ   

วันจันทร์ที่ 14 สิงหาคม 2566
วันหยุดชดเชยเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงและวันแม่แห่งชาติ




วันอังคารที่ 15 สิงหาคม 2566
เวลา 12.00-13.00 น.: Admission Round* (บันทึกวิดีโอ)   
กิจกรรมแบบ Hybrid สามารถเข้าร่วม ณ ห้องประชุม 1301 โซน C ชั้น 13 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์หรือ ผ่าน Application Zoom
 
Zoom link
https://chula.zoom.us/j/97971439339?pwd=UzE3WTZnQ3dUMWNWMlpySnZHb0RqUT09
 
Meeting ID: 979 7143 9339
Password: 978163




วันพุธที่ 16 สิงหาคม  2566
ไม่มีกิจกรรม




วันพฤหัสที่ 17 สิงหาคม  2566
ไม่มีกิจกรรม





วันศุกร์ที่ 18 สิงหาคม  2566

เวลา 7.30-8.30 น.: Admission Round* (บันทึกวิดีโอ)   
กิจกรรมแบบ Hybrid สามารถเข้าร่วม ณ ห้องประชุม 1301 โซน C ชั้น 13 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์หรือ ผ่าน Application Zoom

Zoom link

https://chula.zoom.us/j/97024700666?pwd=WlpsUTVERzllM2t4djVDeTNsd3ViQT09

Meeting ID: 970 2470 0666

Password: 835117





และขออนุญาตประชาสัมพันธ์กิจกรรมเพิ่มเติม การประชุมวิชาการประจำปี ครั้งที่ 59 ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย “MDCU CONGRESS 2023: PRACTICAL STRATEGIES AND INNOVATIVE APPROACHES FOR IMPROVING PATIENT OUTCOME” ระหว่างวันที่ 16-18 สิงหาคม 2566 เวลา 9.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 12 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์ โดยมีกำหนดการประชุมดังเอกสารแนบค่ะ 

 

ด้วยความเคารพอย่างสูง
พญ.ปุญณิศา ตาลกิจกุล
หัวหน้าแพทย์ประจำบ้าน อายุรศาสตร์จุฬาฯ
85
ประกาศ!
วันที่ 12-14 สิงหาคม 2566
หอสมุดเปิดบริการเวลา 09:00-24:00 น.

Announcement!
August 12-14, 2023
Medical Library will be open from
9:00 a.m. to midnight.
86
กราบเรียนอาจารย์ที่เคารพและสวัสดีแพทย์ประจำบ้านทุกท่านค่ะ

ขออนุญาตแจ้งตารางกิจกรรมประจำสัปดาห์หน้า ตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2566 – 4 สิงหาคม2566 ค่ะ   

วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม 2566
ไม่มีกิจกรรม



วันอังคารที่ 1 สิงหาคม 2566
วันหยุดราชการเนื่องในวันอาสาฬหบูชา
 


วันพุธที่ 2 สิงหาคม  2566
วันหยุดราชการเนื่องในวันเข้าพรรษา
 





วันพฤหัสที่ 3 สิงหาคม  2566

เวลา 12.00-13.00 น.: Clinicopathological Conference ประจำเดือน กรกฎาคม 2566
ผู้บรรยาย:
   อายุรแพทย์: อ.พญ.อันทิพา โชคสุวัฒนสกุล
   รังสีแพทย์: ผศ.(พิเศษ)พญ.เกวลี ศศิวิมลพันธุ์, อ.พญ.ปิยพร บุญศิริคำชัย
   Diagnostician: concealed identity
ผู้ดำเนินรายการ: นพ.ศุภพัฒน์ มีสุนทร

Case protocol: https://chula-my.sharepoint.com/:w:/g/personal/6475347130_student_chula_ac_th/EVpCjh-Gda5IjWqDxlURaoUBbq8yfERihtdIKyWrOcZQpg?rtime=vUYFe-2P20g

ณ ห้องประชุม 1301 โซน C ชั้น 13 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์






วันศุกร์ที่ 4 สิงหาคม  2566

เวลา 7.30-8.30 น.: Admission Round* (บันทึกวิดีโอ)   
กิจกรรมแบบ Hybrid สามารถเข้าร่วม ณ ห้องประชุม 1301 โซน C ชั้น 13 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์หรือ ผ่าน Application Zoom

Zoom link :

https://chula.zoom.us/j/99797587154?pwd=SXhvaVVnMEtMQTloUzRWYXU5ZmtSQT09

Meeting ID: 997 9758 7154
Password: 121314

 

 

ด้วยความเคารพอย่างสูง
พญ.ปุญณิศา ตาลกิจกุล
หัวหน้าแพทย์ประจำบ้าน อายุรศาสตร์จุฬาฯ
87
ประกาศ!
วันที่ 28 กรกฎาคม 2566 ถึง 2 สิงหาคม 2566
หอสมุดเปิดบริการเวลา 09:00-24:00 น.

Announcement!
July 28, 2023 to August 2, 2023
Medical Library will be open from
9:00 a.m. to midnight.
88
#ขอแนะนำหนังสืออภินันทนาการ ประจำวันที่ 27 กรกฎาคม 2566
หอสมุดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ได้รับหนังสืออภินันทนาการจาก ผศ.นพ.เสกข์ แทนประเสริฐสุข ภาควิชาสรีรวิทยา และ ศ.นพ.กัมมันต์ พันธุมจินดา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จำนวน 3 เล่ม
โดยมีรายละเอียดหนังสือดังนี้
The clinical neuroscience of headache = ประสาทศาสตร์คลินิกของการปวดศีรษะ / เสกข์ แทนประเสริฐสุข, กัมมันต์ พันธุมจินดา
CALL: WL344 จ683สค 2566
ISBN: 9786166036015
ดูรายละเอียดหนังสือเพิ่มเติมได้ที่: https://shorturl.asia/yxJj7
จัดแสดงที่มุมหนังสือผลงานอาจารย์ ชั้น 1 และ พร้อมให้บริการแล้วที่มุมหนังสือใหม่ ชั้น 2
ด้วยความขอบคุณยิ่ง

 ติดตามข่าวสารและบริการต่างๆได้ที่
Facebook คลิก‼️  https://www.facebook.com/cumedlibrary
MDCU Library คลิก‼️  https://library.md.chula.ac.th/
Twitter คลิก‼️  https://twitter.com/cumedlib
Line @dxf0503w
89
กราบเรียนอาจารย์ที่เคารพและสวัสดีแพทย์ประจำบ้านทุกท่านค่ะ

ขออนุญาตแจ้งตารางกิจกรรมประจำสัปดาห์หน้า ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 – 28 กรกฎาคม2566 ค่ะ   

วันจันทร์ที่ 24 กรกฎาคม 2566
เวลา 12.00-13.00 น.: Core lecture Interactive session เรื่อง Upper GI bleeding 
ผู้บรรยาย: รศ.พญ.รภัส พิทยานนท์
ณ ห้องประชุม 1301 โซน C ชั้น 13 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์
(*แพทย์ประจำบ้านโปรดศึกษา VDO core lecture เรื่อง DIAGNOSIS AND MANAGEMENT OF STOMACH DISEASE EP.4 (UPPER GI BLEEDING) โดย รศ.พญ.รภัส พิทยานนท์ มาก่อนล่วงหน้า*)



วันอังคารที่ 25 กรกฎาคม 2566
เวลา 12.00-13.00 น.: English Admission Round* (บันทึกวิดีโอ)   
กิจกรรมแบบ Hybrid สามารถเข้าร่วม ณ ห้องประชุม 1301 โซน C ชั้น 13 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์ หรือผ่าน Application Zoom
 
Zoom link
https://chula.zoom.us/j/93570082779?pwd=L2VEVTl3MXpoeDRjVTlMaUxlNXBNUT09
 
Meeting ID: 935 7008 2779
Password: 112233




วันพุธที่ 26 กรกฎาคม 2566
เวลา 12.00-13.00 น.: Resident meeting with post-graduated committee
ณ ห้องประชุม 1301 โซน C ชั้น 13 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์





วันพฤหัสที่ 27 กรกฎาคม 2566

เวลา 12.00-13.00 น.: Morbidity and Mortality Conference

ณ ห้องประชุม 1301 โซน C ชั้น 13 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์
ผู้บรรยาย: นพ.ติณณชาติ ชั้นสุพัฒน์, พญ.ชื่นกมล ศุภสามเสน
ผู้ดำเนินรายการ: พญ.ชวัลญา อังศุวัชรากร







วันศุกร์ที่ 28 กรกฎาคม 2566

วันหยุดราชการเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

 

 

ด้วยความเคารพอย่างสูง
พญ.ปุญณิศา ตาลกิจกุล
หัวหน้าแพทย์ประจำบ้าน อายุรศาสตร์จุฬาฯ
90
ขอเชิญนิสิต คณาจารณ์ และบุคลากรผู้ที่สนใจ เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการหัวข้อ "การวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์เบื้องต้น ด้วยโปรแกรม SPSS"
 วันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม 2566  เวลา 9.00 - 16.00 น.
 ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศ อาคารอปร ชั้น 8
* ขอสงวนสิทธิ์สำหรับนิสิต คณาจารณ์ บุคลากร คณะแพทยศาสตร์ และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เท่านั้น
ลงทะเบียนได้ที่ https://shorturl.asia/1jAWT

ดูรายละเอียดการอบรมอื่นๆ ได้ที่
https://library.md.chula.ac.th/workshop.htm

 ติดตามข่าวสารและบริการต่างๆได้ที่
Facebook คลิก‼️  https://www.facebook.com/cumedlibrary
MDCU Library คลิก‼️  https://library.md.chula.ac.th/
Twitter คลิก‼️  https://twitter.com/cumedlib
Line @dxf0503w
Pages: 1 ... 7 8 [9] 10